สุภาษิตไทย

คำสุภาษิต

ลางเนื้อชอบลางยา

หมายถึง ของสิ่งเดียวกัน แต่คนหลาย ๆ คนจะชอบของชิ้นนี้มากน้อยไม่เท่ากัน เพราะรสนิยมของแต่ละคนไม่เหมือนกัน

หมายถึง ของบางสิ่งอาจถูก เข้ากันได้ดี เหมาะกับคนหนึ่ง แต่อาจไม่เหมาะกับอีกคน

พจนานุกรมไทย ลางเนื้อชอบลางยา หมายถึง:

  1. น. ยาอย่างเดียวกัน ถูกกับคนหนึ่ง แต่ไม่ถูกกับอีกคนหนึ่ง; (สํา) ของสิ่งเดียวกัน ถูกกับคนหนึ่ง แต่ไม่ถูกกับอีกคนหนึ่ง.

 หมายเหตุ

คำสุภาษิต หรือ สำนวนสุภาษิต คือ คำในภาษาไทยที่ใช้ในการสื่อสารเชิงเปรียบเทียบอุปมาอุปมัย มักมีความหมายในการตักเตือนสั่งสอนในทางบวก มีความหมายที่ดี เช่น รักยาวให้บั่นรักสั้นให้ต่อ น้ำเชี่ยวอย่าขวางเรือ

สำนวนไทย หมายถึง ถ้อยคำ กลุ่มคำ หรือประโยคที่ไม่ได้แปลความหมายตรง ๆ แต่มีความหมายเชิงเปรียบเทียบแฝงอยู่ เช่น สอนจระเข้ให้ว่ายนํ้า รำไม่ดีโทษปี่โทษกลอง

คำพังเพย หมายถึง ถ้อยคำหรือข้อความที่กล่าวเป็นกลาง ๆ เพื่อให้ตีความเข้ากับเรื่อง มีความหมายแฝงอยู่ อาจเป็นคำที่ใช้สื่อในทางเปรียบเปรย หรือในทำนองเสียดสี เช่น กระต่ายตื่นตูม เสียน้อยเสียยากเสียมากเสียง่าย

 ภาพประกอบ

  • คำสุภาษิต: ลางเนื้อชอบลางยา หมายถึง?, หมายถึง ของสิ่งเดียวกัน แต่คนหลาย ๆ คนจะชอบของชิ้นนี้มากน้อยไม่เท่ากัน เพราะรสนิยมของแต่ละคนไม่เหมือนกัน คำนาม คน
  • คำสุภาษิต: ลางเนื้อชอบลางยา หมายถึง?, หมายถึง ของบางสิ่งอาจถูก เข้ากันได้ดี เหมาะกับคนหนึ่ง แต่อาจไม่เหมาะกับอีกคน คำนาม คน

 คำสุภาษิตที่คล้ายกัน

กลับเนื้อกลับตัว หมายถึงอะไร คนในข้อ งอในกระดูก หมายถึงอะไร ฆ้องปากแตก หมายถึงอะไร ตักน้ำใส่กะโหลกชะโงกดูเงา หมายถึงอะไร ลูกผีลูกคน หมายถึงอะไร ศรศิลป์ไม่กินกัน หมายถึงอะไร หน้าเนื้อใจเสือ หมายถึงอะไร หมาขี้ไม่มีใครยกหาง หมายถึงอะไร หยิกเล็บเจ็บเนื้อ หมายถึงอะไร อย่าฝากเนื้อไว้กับเสือ หมายถึงอะไร เอาเนื้อหนูไปปะเนื้อช้าง หมายถึงอะไร โคแก่ชอบกินหญ้าอ่อน หมายถึงอะไร

หาคำศัพท์ไม่เจอ หรือยังไม่เห็นคำที่ต้องการ?

ช่วยแนะนำคำใหม่ให้เราสิ
แจ้งเพิ่มคำ

 ความคิดเห็นในหัวข้อ "ลางเนื้อชอบลางยา"

 สุภาษิตไทย จัดกลุ่มตามตัวอักษร ก-ฮ

 บทความอื่น ๆ จาก "สุภาษิตไทย"