สุภาษิตไทย

คำสุภาษิต

กิ้งก่าได้ทอง

หมายถึง คนที่ได้ลาภยศแล้วทะนงตนลืมฐานะเดิม

 หมายเหตุ

คำสุภาษิต หรือ สำนวนสุภาษิต คือ คำในภาษาไทยที่ใช้ในการสื่อสารเชิงเปรียบเทียบอุปมาอุปมัย มักมีความหมายในการตักเตือนสั่งสอนในทางบวก มีความหมายที่ดี เช่น รักยาวให้บั่นรักสั้นให้ต่อ น้ำเชี่ยวอย่าขวางเรือ

สำนวนไทย หมายถึง ถ้อยคำ กลุ่มคำ หรือประโยคที่ไม่ได้แปลความหมายตรง ๆ แต่มีความหมายเชิงเปรียบเทียบแฝงอยู่ เช่น สอนจระเข้ให้ว่ายนํ้า รำไม่ดีโทษปี่โทษกลอง

คำพังเพย หมายถึง ถ้อยคำหรือข้อความที่กล่าวเป็นกลาง ๆ เพื่อให้ตีความเข้ากับเรื่อง มีความหมายแฝงอยู่ อาจเป็นคำที่ใช้สื่อในทางเปรียบเปรย หรือในทำนองเสียดสี เช่น กระต่ายตื่นตูม เสียน้อยเสียยากเสียมากเสียง่าย

 ภาพประกอบ

  • คำสุภาษิต: กิ้งก่าได้ทอง หมายถึง?, หมายถึง คนที่ได้ลาภยศแล้วทะนงตนลืมฐานะเดิม คำนาม คน ธรรมชาติ ทอง
  • คำสุภาษิต: กิ้งก่าได้ทอง หมายถึง?, หมายถึง คนที่ได้ลาภยศแล้วทะนงตนลืมฐานะเดิม คำนาม คน ธรรมชาติ ทอง

 คำสุภาษิตที่คล้ายกัน

กบในกะลาครอบ กว่าถั่วจะสุกงาก็ไหม้ กินบนเรือนแล้วขี้รดหลังคา ปิดทองหลังพระ พูดไปสองไพเบี้ยนิ่งเสียตำลึงทอง มีเงินมีทองเจรจาได้ มีไม้มีไร่ปลูกเรือนงาม มีเงินเขานับว่าเป็นน้อง มีทองเขานับว่าเป็นพี่ อย่าตำน้ำพริกละลายแม่น้ำ อย่าทำตัวเป็นกิ้งก่าได้ทอง อย่าเอาทองไปลู่กระเบื้อง เรือล่มในหนองทองจะไปไหน เสียทองเท่าหัวไม่ยอมเสียผัวให้ใคร

หาคำศัพท์ไม่เจอ หรือยังไม่เห็นคำที่ต้องการ?

ช่วยแนะนำคำใหม่ให้เราสิ
แจ้งเพิ่มคำ

 ความคิดเห็นในหัวข้อ "กิ้งก่าได้ทอง"

 สุภาษิตไทย จัดกลุ่มตามตัวอักษร ก-ฮ

 บทความอื่น ๆ จาก "สุภาษิตไทย"