สุภาษิตไทย

คำสุภาษิต

ชาติไก่ชนขนหัวไม่ต้องการ

หมายถึง ผู้กล้าหาญย่อมไม่ปราถนาเกียรติหรือคำชมเชย

 หมายเหตุ

คำสุภาษิต หรือ สำนวนสุภาษิต คือ คำในภาษาไทยที่ใช้ในการสื่อสารเชิงเปรียบเทียบอุปมาอุปมัย มักมีความหมายในการตักเตือนสั่งสอนในทางบวก มีความหมายที่ดี เช่น รักยาวให้บั่นรักสั้นให้ต่อ น้ำเชี่ยวอย่าขวางเรือ

สำนวนไทย หมายถึง ถ้อยคำ กลุ่มคำ หรือประโยคที่ไม่ได้แปลความหมายตรง ๆ แต่มีความหมายเชิงเปรียบเทียบแฝงอยู่ เช่น สอนจระเข้ให้ว่ายนํ้า รำไม่ดีโทษปี่โทษกลอง

คำพังเพย หมายถึง ถ้อยคำหรือข้อความที่กล่าวเป็นกลาง ๆ เพื่อให้ตีความเข้ากับเรื่อง มีความหมายแฝงอยู่ อาจเป็นคำที่ใช้สื่อในทางเปรียบเปรย หรือในทำนองเสียดสี เช่น กระต่ายตื่นตูม เสียน้อยเสียยากเสียมากเสียง่าย

 ภาพประกอบ

  • คำสุภาษิต: ชาติไก่ชนขนหัวไม่ต้องการ หมายถึง?, หมายถึง ผู้กล้าหาญย่อมไม่ปราถนาเกียรติหรือคำชมเชย อวัยวะ ขน

 คำสุภาษิตที่คล้ายกัน

กบเลือกนาย กรวดน้ำคว่ำขัน ชาติเสือต้องไว้ลาย ชาติชายต้องไว้ชื่อ ช้า ๆ ได้พร้าสองเล่มงาม ด่วนได้สามผลามมักพลิกแพลง ตบหัวแล้วลูบหลัง ตักน้ำรดหัวตอ นกสองหัว หัวมังกุ ท้ายมังกร หัวหลักหัวตอ หาเหาใส่หัว เก็บดอกไม้ร่วงต้น เก็บดอกไม้ร่วมต้น ไก่งามเพราะขน คนงามเพราะแต่ง

หาคำศัพท์ไม่เจอ หรือยังไม่เห็นคำที่ต้องการ?

ช่วยแนะนำคำใหม่ให้เราสิ
แจ้งเพิ่มคำ

 ความคิดเห็นในหัวข้อ "ชาติไก่ชนขนหัวไม่ต้องการ"

 สุภาษิตไทย จัดกลุ่มตามตัวอักษร ก-ฮ

 บทความอื่น ๆ จาก "สุภาษิตไทย"