สุภาษิตไทย

คำสุภาษิต

ฟ้าสูงแผ่นดินต่ำ

หมายถึง รู้ที่ต่ำที่สูง รู้อะไรควรไม่ควร

หมายถึง ความแตกต่างทางฐานะ และชนชั้น, มักใช้ในความปฏิเสธ

 หมายเหตุ

คำสุภาษิต หรือ สำนวนสุภาษิต คือ คำในภาษาไทยที่ใช้ในการสื่อสารเชิงเปรียบเทียบอุปมาอุปมัย มักมีความหมายในการตักเตือนสั่งสอนในทางบวก มีความหมายที่ดี เช่น รักยาวให้บั่นรักสั้นให้ต่อ น้ำเชี่ยวอย่าขวางเรือ

สำนวนไทย หมายถึง ถ้อยคำ กลุ่มคำ หรือประโยคที่ไม่ได้แปลความหมายตรง ๆ แต่มีความหมายเชิงเปรียบเทียบแฝงอยู่ เช่น สอนจระเข้ให้ว่ายนํ้า รำไม่ดีโทษปี่โทษกลอง

คำพังเพย หมายถึง ถ้อยคำหรือข้อความที่กล่าวเป็นกลาง ๆ เพื่อให้ตีความเข้ากับเรื่อง มีความหมายแฝงอยู่ อาจเป็นคำที่ใช้สื่อในทางเปรียบเปรย หรือในทำนองเสียดสี เช่น กระต่ายตื่นตูม เสียน้อยเสียยากเสียมากเสียง่าย

 ภาพประกอบ

  • คำสุภาษิต: ฟ้าสูงแผ่นดินต่ำ หมายถึง?, หมายถึง รู้ที่ต่ำที่สูง รู้อะไรควรไม่ควร ธรรมชาติ ฟ้า, แผ่นดิน
  • คำสุภาษิต: ฟ้าสูงแผ่นดินต่ำ หมายถึง?, หมายถึง ความแตกต่างทางฐานะ และชนชั้น, มักใช้ในความปฏิเสธ คำกริยา ชน ธรรมชาติ ฟ้า, แผ่นดิน, ดิน

 คำสุภาษิตที่คล้ายกัน

กาในฝูงหงส์ กำขี้ดีกว่ากำตด ความรู้ท่วมหัวเอาตัวไม่รอด ฆ่าควายเสียดายพริก ซื้อควายหน้านา ซื้อผ้าหน้าตรุษ นอนสูงให้นอนคว่ำ นอนต่ำให้นอนหงาย ฝนตกไม่ทั่วฟ้า สี่ตีนยังรู้พลาด นักปราชญ์ยังรู้พลั้ง อย่าเอาทองไปลู่กระเบื้อง อย่าเอาพิมเสนไปแลกกับเกลือ เล่นกับหมา หมาเลียปาก เล่นกับสาก สากต่อยหัว เอาไม้ซีกไปงัดไม้ซุง

หาคำศัพท์ไม่เจอ หรือยังไม่เห็นคำที่ต้องการ?

ช่วยแนะนำคำใหม่ให้เราสิ
แจ้งเพิ่มคำ

 ความคิดเห็นในหัวข้อ "ฟ้าสูงแผ่นดินต่ำ"

 สุภาษิตไทย จัดกลุ่มตามตัวอักษร ก-ฮ

 บทความอื่น ๆ จาก "สุภาษิตไทย"