สุภาษิตไทย

คำสุภาษิต

อยากเป็นขี้ข้าให้เป็นนายประกัน

หมายถึง หลีกเลี่ยงกระทำสัญญาหรือค้ำประกันให้คนอื่น เพราะอาจจะได้รับความเดือดร้อน

หมายเหตุ คำเต็ม ๆ คือ อยากเป็นหนี้ให้เป็นนายหน้า อยากเป็นขี้ข้าให้เป็นนายประกัน

 หมายเหตุ

คำสุภาษิต หรือ สำนวนสุภาษิต คือ คำในภาษาไทยที่ใช้ในการสื่อสารเชิงเปรียบเทียบอุปมาอุปมัย มักมีความหมายในการตักเตือนสั่งสอนในทางบวก มีความหมายที่ดี เช่น รักยาวให้บั่นรักสั้นให้ต่อ น้ำเชี่ยวอย่าขวางเรือ

สำนวนไทย หมายถึง ถ้อยคำ กลุ่มคำ หรือประโยคที่ไม่ได้แปลความหมายตรง ๆ แต่มีความหมายเชิงเปรียบเทียบแฝงอยู่ เช่น สอนจระเข้ให้ว่ายนํ้า รำไม่ดีโทษปี่โทษกลอง

คำพังเพย หมายถึง ถ้อยคำหรือข้อความที่กล่าวเป็นกลาง ๆ เพื่อให้ตีความเข้ากับเรื่อง มีความหมายแฝงอยู่ อาจเป็นคำที่ใช้สื่อในทางเปรียบเปรย หรือในทำนองเสียดสี เช่น กระต่ายตื่นตูม เสียน้อยเสียยากเสียมากเสียง่าย

 ภาพประกอบ

  • คำสุภาษิต: อยากเป็นขี้ข้าให้เป็นนายประกัน หมายถึง?, หมายถึง หลีกเลี่ยงกระทำสัญญาหรือค้ำประกันให้คนอื่น เพราะอาจจะได้รับความเดือดร้อน หมายเหตุ คำเต็ม ๆ คือ อยากเป็นหนี้ให้เป็นนายหน้า อยากเป็นขี้ข้าให้เป็นนายประกัน คำนาม นาย, คน

 คำสุภาษิตที่คล้ายกัน

นายว่า ขี้ข้าพลอย นายว่าขี้ข้าพลอย วัวเห็นแก่หญ้าขี้ข้าเห็นแก่กิน อดเปรี้ยวไว้กินหวาน อย่าชักน้ำเข้าลึก อย่าชักศึกเข้าบ้าน อย่าชี้โพรงให้กระรอก อย่าทำตัวเป็นกิ้งก่าได้ทอง อย่าฟื้นฝอยหาตะเข็บ อย่าเลี้ยงลูกเสือลูกจระเข้ อย่าเห็นขี้ดีกว่าไส้ อย่าแกว่งเท้าหาเสี้ยน อย่าไว้ใจทาง อย่าวางใจคน จะจนใจเอง

หาคำศัพท์ไม่เจอ หรือยังไม่เห็นคำที่ต้องการ?

ช่วยแนะนำคำใหม่ให้เราสิ
แจ้งเพิ่มคำ

 ความคิดเห็นในหัวข้อ "อยากเป็นขี้ข้าให้เป็นนายประกัน"

 สุภาษิตไทย จัดกลุ่มตามตัวอักษร ก-ฮ

 บทความอื่น ๆ จาก "สุภาษิตไทย"