สุภาษิตไทย

คำสุภาษิต

อย่าเอาทองไปลู่กระเบื้อง

หมายถึง คืออย่าลดตัวลงไปสู้กับคนชั่วต่ำ มีแต่เสียศักดิ์ศรี เพราะไม่คู่ควรกัน

 หมายเหตุ

คำสุภาษิต หรือ สำนวนสุภาษิต คือ คำในภาษาไทยที่ใช้ในการสื่อสารเชิงเปรียบเทียบอุปมาอุปมัย มักมีความหมายในการตักเตือนสั่งสอนในทางบวก มีความหมายที่ดี เช่น รักยาวให้บั่นรักสั้นให้ต่อ น้ำเชี่ยวอย่าขวางเรือ

สำนวนไทย หมายถึง ถ้อยคำ กลุ่มคำ หรือประโยคที่ไม่ได้แปลความหมายตรง ๆ แต่มีความหมายเชิงเปรียบเทียบแฝงอยู่ เช่น สอนจระเข้ให้ว่ายนํ้า รำไม่ดีโทษปี่โทษกลอง

คำพังเพย หมายถึง ถ้อยคำหรือข้อความที่กล่าวเป็นกลาง ๆ เพื่อให้ตีความเข้ากับเรื่อง มีความหมายแฝงอยู่ อาจเป็นคำที่ใช้สื่อในทางเปรียบเปรย หรือในทำนองเสียดสี เช่น กระต่ายตื่นตูม เสียน้อยเสียยากเสียมากเสียง่าย

 ภาพประกอบ

  • คำสุภาษิต: อย่าเอาทองไปลู่กระเบื้อง หมายถึง?, หมายถึง คืออย่าลดตัวลงไปสู้กับคนชั่วต่ำ มีแต่เสียศักดิ์ศรี เพราะไม่คู่ควรกัน คำนาม คน อวัยวะ ตัว คำกริยา สู้ ธรรมชาติ ทอง

 คำสุภาษิตที่คล้ายกัน

ตักบาตรอย่าถามพระ หมายถึงอะไร อย่าชิงสุกก่อนห่าม หมายถึงอะไร อย่าตำน้ำพริกละลายแม่น้ำ หมายถึงอะไร อย่าติเรือทั้งโกลน หมายถึงอะไร อย่าทำตัวเป็นกิ้งก่าได้ทอง หมายถึงอะไร อย่าเลี้ยงลูกเสือลูกจระเข้ หมายถึงอะไร อย่าเอาจมูกคนอื่นหายใจ หมายถึงอะไร อย่าเอาพิมเสนไปแลกกับเกลือ หมายถึงอะไร อย่าเอามะพร้าวห้าวไปขายสวน หมายถึงอะไร อย่าเอาลูกเขามาเลี้ยง อย่าเอาเมี่ยงเขามาอม หมายถึงอะไร อย่าแกว่งเท้าหาเสี้ยน หมายถึงอะไร เข้าเถื่อนอย่าลืมพร้า หมายถึงอะไร

หาคำศัพท์ไม่เจอ หรือยังไม่เห็นคำที่ต้องการ?

ช่วยแนะนำคำใหม่ให้เราสิ
แจ้งเพิ่มคำ

 ความคิดเห็นในหัวข้อ "อย่าเอาทองไปลู่กระเบื้อง"

 สุภาษิตไทย จัดกลุ่มตามตัวอักษร ก-ฮ

 บทความอื่น ๆ จาก "สุภาษิตไทย"