สุภาษิตไทย

คำสุภาษิต

ไม่เห็นกระรอกโก่งหน้าไม้

หมายถึง การด่วนตัดสินหรือทำอะไรล่วงหน้าไปก่อน ทั้ง ๆ ที่ไม่รู้ว่าเหตุการณ์ข้างหน้าจะเกิดขึ้นจริงหรือไม่

 หมายเหตุ

คำสุภาษิต หรือ สำนวนสุภาษิต คือ คำในภาษาไทยที่ใช้ในการสื่อสารเชิงเปรียบเทียบอุปมาอุปมัย มักมีความหมายในการตักเตือนสั่งสอนในทางบวก มีความหมายที่ดี เช่น รักยาวให้บั่นรักสั้นให้ต่อ น้ำเชี่ยวอย่าขวางเรือ

สำนวนไทย หมายถึง ถ้อยคำ กลุ่มคำ หรือประโยคที่ไม่ได้แปลความหมายตรง ๆ แต่มีความหมายเชิงเปรียบเทียบแฝงอยู่ เช่น สอนจระเข้ให้ว่ายนํ้า รำไม่ดีโทษปี่โทษกลอง

คำพังเพย หมายถึง ถ้อยคำหรือข้อความที่กล่าวเป็นกลาง ๆ เพื่อให้ตีความเข้ากับเรื่อง มีความหมายแฝงอยู่ อาจเป็นคำที่ใช้สื่อในทางเปรียบเปรย หรือในทำนองเสียดสี เช่น กระต่ายตื่นตูม เสียน้อยเสียยากเสียมากเสียง่าย

 ภาพประกอบ

  • คำสุภาษิต: ไม่เห็นกระรอกโก่งหน้าไม้ หมายถึง?, หมายถึง การด่วนตัดสินหรือทำอะไรล่วงหน้าไปก่อน ทั้ง ๆ ที่ไม่รู้ว่าเหตุการณ์ข้างหน้าจะเกิดขึ้นจริงหรือไม่ อวัยวะ หน้า ธรรมชาติ ไม้

 คำสุภาษิตที่คล้ายกัน

อย่าชี้โพรงให้กระรอก ไกลปืนเที่ยง ไก่งามเพราะขน คนงามเพราะแต่ง ไก่อ่อน ไก่เห็นตีนงู งูเห็นนมไก่ ไฟในอย่านำออก ไฟนอกอย่านำเข้า ไม่มีมูลฝอยหมาไม่ขี้ ไม่เห็นน้ำ อย่าเพิ่งตัดกระบอก ไม่เห็นกระรอก อย่าเพิ่งโก่งหน้าไม้ ไม่เห็นน้ำตัดกระบอก ไม่เห็นกระรอกก่งหน้าไม้ ไม้ลำเดียวยังต่างปล้อง พี่กับน้องยังต่างใจ ไม้หลักปักเลน ไส้เป็นหนอน

หาคำศัพท์ไม่เจอ หรือยังไม่เห็นคำที่ต้องการ?

ช่วยแนะนำคำใหม่ให้เราสิ
แจ้งเพิ่มคำ

 ความคิดเห็นในหัวข้อ "ไม่เห็นกระรอกโก่งหน้าไม้"

 สุภาษิตไทย จัดกลุ่มตามตัวอักษร ก-ฮ

 บทความอื่น ๆ จาก "สุภาษิตไทย"